วันอาทิตย์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2555

เพลงปลาทอง ( เถา )


เพลงปลาทอง ( เถา )
ประวัติที่มา
เพลงปลาทอง ( เถา )  ต้นตอของเพลงมาจากเพลงเต่ากินผักบุ้ง ๒ ชั้น เพลงลาสำคัญที่มีการ  ว่าดอก  เป็นสร้อย  เพื่อให้ผู้ร้องได้แสดงความสามารถในการเน้นเสียงถ้อยคำให้   มีน้ำหนักได้สนิท  และยังเป็นการอวดทางเครื่อง ( ดนตรี ) ในการ   ว่าดอก”  ว่าสามารถเลียนเสียงได้เหมือน                     ( คล้ายของจริง ) เพียงไร  ต่อมามีผู้แต่งขยายขึ้นเป็น ๓ ชั้น  เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ได้ทรงนำไปปรับให้เข้ากับแตรวงของทหารมหาดเล็กบรรเลงถวายในรัชกาลที่ ๕ และทรงตั้งชื่อ ใหม่ว่าเพลงปลาทอง  ล่วงมาอีกหลายปี   นายมนตรี  ตราโมท  ได้ตัดลงเป็นชั้นเดียว  ครบเป็นเพลง เถา ที่สมบูรณ์ใช้บรรเลงกันต่อมา

บทร้องเพลงปลาทอง ( เถา )
๓ ชั้น                    ดอกเอยดอกรัก                                     รูปทรงวงพักตร์ก็งามสม
ทั้งท่วงทีกิริยาดูน่าชม                                         ดังล่องลมลอยฟ้ามาสู่วัง
                ( ดอกเอ๋ยดอกสร้อย                                            งามแฉล้มแช่มช้อยดูหยดย้อยเสียจริงเอย
                เหมือนโกสุมทุกพุ่มพวง                                   บานอยู่ในห้วงชลาลัย
                บุญน้อยต้องลอยไป                                            อีกเมื่อไรจะกลับมา )
๒ ชั้น                    แม้ได้โฉมงามทรามสวาท ไม่นิราศเริดร้างเหมือนปางหลัง
                จะแนบนอนบนสุวรรณบัลลังก์                       ไปไหนนั่งเคียงข้างไม่ห่างเลย
                ( ดอกเอ๋ยดอกมะปราง                                       รักจริงจริงไม่ทิ้งขว้างรักแล้วไม่ร้างไปเอย
                แซ่เสียงเรไรร่อนร้อง                                         ถูกลมแล้วก็ล่องลอยไป
                ดอกสร้อยสุมาลัย                                 รักแล้วไม่ไกลเลยเอย )
                                                                                                 ( บทร้องเก่า )
ชั้นเดียว                 ยามเดินดังจะเชิญประคองชวน       ยามยิ้มดังจะยวนชวนเฉลย
                สุรศัพท์จับใจกระไรเลย                                     เจ้าช่ออบเชยรักแล้วไม่เลยร้างไป
                หอมดอกกระถิน                                                 ยังแพ้กลิ่นสุดาเอย
                                                                                                ( นายมนตรี  ตราโมท  แต่ง )
                 











เพลงปลาทอง  (เถา)
ผู้แต่ง : เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ , นายมนตรี  ตราโมท
หน้าทับ : ปรบไก่
๓ ชั้น ท่อน ๑
- - - ด
รรรร
- - - ม
รรรร
ดํดํรํดํ
ทลซร
ซซรซ
ลทดํรํ
ซดรม
รมฟซ
ฟลซฟ
ซฟมร
ดรมฟ
ซฟมร
ซมรด
มรดทฺ
รฺทฺทฺทฺ
รฺซฺลฺทฺ
รฺมฺรฺทฺ
รฺทฺลฺซฺ
ลฺทฺรม
ซรมซ
รมวล
ทซลท
ซลซม
ซมรด
- ดฺ
ซดรม
รมซล
ดํลซม
ลซมร
ซมรด
ซลทซ
ลทดํรํ
มรซร
มรดซ
ทลรํซ
ลทลท
ดํรํดํซ
ลทดํรํ
ซดรม
รมฟซ
ฟลซฟ
ซฟมร
ดรมฟ
ซฟมร
ซมรด
มรดท
รฺทฺทฺทฺ
รฺซฺลฺทฺ
รฺมฺรฺทฺ
รฺทฺลฺซฺ
ลฺทฺรม
ซรมซ
รมซล
ทซลท
รํซลท
ลทรํมํ
ซํซํซํมํ
ซํมํรํท
รํทลซ
รซลท
รํมํรํท
รํทลซ
กลับต้น
๓ ชั้น ท่อน ๒
ซลทดํ
รํดํทล
รํทลซ
ทลซม
ซรรร
ซมมม
ลซซซ
ทลลล
ทซลท
ลทดํรํ
ดํมํรํดํ
รํดํทล
ซลทดํ
รํดํทล
รํทลซ
ทลซม
ซลซม
ซมรทฺ
ลซรฺซ
ลฺทฺรม
ซรรร
ซมมม
ลซซซ
ทลลล
รํมํรํท
รํทลซ
ฟมรม
ฟซลท
ลทรํมํ
ซํมํรํท
รํมํรํท
รํทลซ
กลับต้น


๓ ชั้น ท่อน ๓
ซลซม
ซมรด
- ดฺ
ซดรม
ซดรม
รมฟซ
ฟลซฟ
ซฟมร
ซลซม
ซมรด
- ดฺ
ซดรม
ซดรม
รมฟซ
ฟลซฟ
ซฟมร
ลทดํรํ
ดํทดํรํ
ดํทดํรํ
มํรํดํท
รํทลซ
รซลท
รํมํรํท
รํทลซ
ลซมร
ซมรทฺ
มฺรฺทฺลฺ
รฺทฺลฺซฺ
ลฺทฺรม
รมซล
ทลซม
รฺทลซ
กลับต้น
รอบ ๒ เปลี่ยน ๔ ห้องสุดท้ายเป็น
ลทรม
- ซ - ล
ทลรํท
- ล - ซ

เพลงเต่ากินผักบุ้ง
๒ ชั้น ท่อน ๑
- - - ด
รรรร
- - - ม
รรรร
ดรมฟ
ซฟมร
ซมรด
มรดทฺ
รฺมฺรฺทฺ
รฺทฺลฺซฺ
ฟมรม
ฟซลท
ซลทดฺ
ทดํรํมํ
ซํซํซํมํ
ซํมํรํดํ
ดํซซซ
ดํลลล
รํดํดํดํ
มํรํรํรํ
ดํรํมํฟํ
ซํฟํมํรํ
ซํมํรํดํ
มํรํดํท
รํมํรํท
รัทลซ
ฟมรม
ฟวลท
ลทรํมํ
ซํมํรํท
รํมํรํท
รํทลซ
กลับต้น


๒ ชั้น ท่อน ๒
ซรรร
ซมมม
ลซซซ
ทลลล
ซลทดํ
รํดํทล
รํทลซ
ทลซม
ซรรร
ซมมม
ลซซซ
ทลลล
รมฟซ
ฟซลท
รํมํรํท
รํทลซ
กลับต้น
๒ ชั้น ท่อน ๓
- ดฺ
ซดรม
รมซล
ซฟมร
มมซร
มรดท
ลซลท
ลทดร
ลซมร
ซมรทฺ
มฺรฺทฺลฺ
รฺทฺลฺซฺ
ลฺทฺรม
- ซ - ล
ทลรํท
- ล
กลับต้น
ชั้นเดียว ท่อน ๑
- - รํรํ
- รฺ - รํ
มํมํซํรํ
มํรํดํท
รํทลซ
รํซลท
ดํรํมํรํ
ซํมํรํดํ
- - รํรํ
- รฺ - รํ
มํมํซํรํ
มํรํดํท
รํทลซ
รํซลท
รํมํรํท
รํทลซ
กลับต้น
ชั้นเดียว ท่อน ๒
ซลซซ
รมซล
ทลรํล
ทลซม
รมฟซ
ฟซลท
รํมํรํท
รํทลซ
กลับต้น
ชั้นเดียว ท่อน ๓
ซดรม
รมซร
มรดท
ลทดร
ทซลท
ลทรํล
ทลซม
รํทลซ
กลับต้น
ออกลูกหมด
- - รํรํ
- รฺ - รํ
มํมํซํรํ
มํรํดล
รมซล
ดํซ - ล
ซลดํรํ
มํดํ รํ
มํรํดํล
ดํซ - -
ดํลซม
ซร - -
รมซ -
มซล -
ซลดํ -
ลดํรํ -

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น